สรรพากร จ่อคิวเก็บภาษี ซื้อขายผ่านเน็ต

นายสาธิต รังคสิริ อธิบดีกรมสรรพากร เปิดเผยว่า กรมสรรพากรกำลังปรับระบบการจัดเก็บภาษีใหม่เพื่อให้สอดคล้องกับระบบการค้า และการดำเนินธุรกิจต้อนรับการเปิดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) โดยระบบภาษีที่ปรับใหม่นี้ต้องเชื่อมโยงกับการซื้อขายทางอินเทอร์เน็ต (อีคอมเมิร์ซ) ที่จะเพิ่มมากขึ้นหลังจากเปิดตลาด AEC ทั้งนี้ กรมสรรพากรจะกำหนดว่าการซื้อขายสินค้าผ่านอิเล็กทรอนิกส์หากเกิดขึ้นใน ประเทศไทยควรจะต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม (แวต) ในอัตรา 7% ด้วย

ทิศทางการปรับโครงสร้างภาษีเพื่อรองรับ AEC

การเคลื่อนย้ายแรงงานมีฝีมืออย่างเสรี (Free Flow of Skilled Labour) ถือเป็นหนึ่งในพันธกิจหลักของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community : AEC) ที่จะมีการจัดตั้งอย่างสมบูรณ์ในปี 2558 หรือในอีกไม่ถึง 3 ปีข้างหน้า ซึ่งเป็นประเด็นสำคัญที่หลายฝ่ายกำลังให้ความสนใจ และเป็นห่วงถึงผลกระทบที่จะเกิดขึ้นต่อตลาดแรงงานในประเทศ ทั้งในด้านการย้ายออกของแรงงานฝีมือของไทยโดยเฉพาะแรงงานที่มีประสิทธิภาพ สูง เพื่อไปทำงานในประเทศที่ให้ผลตอบแทนสูงกว่าอย่างสิงคโปร์ และมาเลเซีย ขณะที่ในอีกด้านหนึ่งก็มีความกังวลต่อการย้ายเข้ามาทำงานในประเทศไทยของแรง งานต่างชาติจากประเทศที่มีค่าจ้างแรงงานต่ำกว่า ซึ่งจะทำให้การแข่งขันในตลาดแรงงานของไทยรุนแรงขึ้น

จุดแข็ง จุดอ่อน (เบื้องต้น) ของประเทศต่างๆ ใน AEC

แต่ละเประเทศ ใน AEC นั้น ย่อมมีจุดแข็ง และจุดอ่อนแตกต่างกันออกไป เราลองมาดูกันครับว่า ประเทศต่างๆ ใน AEC นั้นมีจุดแข็งจุดอ่อนกันอย่างไรบ้างนะครับ 1.ประเทศสิงคโปร์  จุดแข็ง รายได้เฉลี่ยต่อคนต่อปีสูงสุดของอาเซียน และติดอันดับ 15 ของโลก การเมืองมีเสถียรภาพ เป็นศูนย์กลางทางการเงินระหว่างประเทศ แรงงานมีทักษะสูง ชำนาญด้านการจัดการทรัพยากรบุคคล และธุรกิจ มีที่ตั้งเอื้อต่อการเป็นศูนย์กลางเดินเรือ

AEC คืออะไร ??

AEC หรือ Asean Economics Community คือการรวมตัวของชาติใน Asean 10 ประเทศ โดยมี ไทย, พม่า, ลาว, เวียดนาม, มาเลเซีย, สิงคโปร์, อินโดนีเซีย, ฟิลิปปินส์, กัมพูชา, บรูไน เพื่อที่จะให้มีผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจร่วมกัน จะมีรูปแบบคล้ายๆ กลุ่ม Euro Zone นั่นเอง จะทำให้มีผลประโยชน์, อำนาจต่อรองต่างๆ กับคู่ค้าได้มากขึ้น และการนำเข้า Continue Reading →